เมนู

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจ
ของปุเรชาตปัจจัย.
[1486] 3. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

11. ปัจฉาชาตปัจจัย


[1487] 1. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[1488] 2. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย
นี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[1889] 3. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

12. อาเสวนปัจจัย


[1490] 1. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[1491] 2. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ด้วยอำนาจของ
อาเสวนปัจจัย ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนว-
สัญญานาสัญญายตนะนั้นเอง ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.